วันอังคารที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2557

ซ่อมรถ FORKLIFT LINDE E18P

วันอาทิตย์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2557

FORKLIFT PUMPS


1. Part Number FORKLIFT PUMPS TOYOTA RH 334 9111 934 3 SERIES 3 TON 5P ENGINE PETROL - GAS P11 A193 X BE FB 31 - XX DESCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 10X1.25; ROTATION C/W PORTS ON HOUSING 4 BOLT 3/4" & 1" S/F 3/8" UNC O.E PART NUMBER RH 334 9111 934 3 SERIES 1.8 / 3 TON 2J ENGINE DIESEL P11 A193 X BE FB 31 - XX DESCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 10X1.25; ROTATION C/W PORTS ON HOUSING 4 BOLT 3/4" & 1" S/F 3/8" UNC O.E PART NUMBER 326 XXX XXX 3 SERIES 4 TON 2F ENGINE PETROL - GAS P315 A 193EJAB20-65 DESCRIPTION ; SHAFT 13 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 2 BOLT ROTATION C/W PORTS ON P.E.C 4 BOLT 3/4" & 1" S/F 3/8" UNC O.E PART NUMBER 326 XXX XXX 3 SERIES 4 TON 2H ENGINE DIESEL P315 A 193EJAB20-65 DESCRIPTION ; SHAFT 13 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 2 BOLT ROTATION C/W PORTS ON P.E.C 4 BOLT 3/4" & 1" S/F 3/8"UNC O.E PART NUMBER RH 334 9111 934 4 SERIES 1.8 / 2 / 2.5 TON 5R ENGINE PETROL - GAS O.E PART NUMBER ROTATION C/W PORTS ON HOUSING 4 BOLT 3/4" & 1" S/F 3/8" UNC O.E PART NUMBER RH 334 9111 934 4 SERIES 2 / 2.5 TON 2J ENGINE DIESEL P11 A193 X BE FB 31 - XX DESCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 10X1.25; ROTATION C/W PORTS ON HOUSING 4 BOLT 3/4" & 1" S/F 3/8" UNC O.E PART NUMBER 332 XXX XXX 3 / 4 FBRE SERIES 1 / 1.3 / 1.5 / 3 TON MOTOR ELECTRIC P11 A193BE XX 10 - XX DESCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 2 BOLT ROTATION C/W PORTS ON HOUSING S.A.E. "O" 5/8 & 3/4" 24VOLT=10cc 48 VOLT=14cc 3 / 4 SERIES 1.8 / 2 / 2.5 / 3 TON PLEASE NOTE: ALL O.E.M. NAMES OR NUMBERS ARE FOR REFERENCE USE ONLY PAGE 65 01/01/2009 2. Part Number FORKLIFT PUMPS TOYOTA RH 334 9111 934 5 SERIES 1.8 / 2 / 2.5 / 3 TON 4Y ENGINE PETROL - GAS P11 A193 X BE FB 31 - XX DISCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 10X1.25; ROTATION C/W PORTS ON HOUSING 4 BOLT 3/4" & 1" S/F 3/8"UNC O.E PART NUMBER RH 334 9111 934 5 SERIES 1.8 / 2 / 2.5 / 3 TON 1DZ / Z ENGINE DIESEL P11 A193 X BE FB 31 - XX DESCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 10X1.25; ROTATION C/W PORTS ON HOUSING 4 BOLT 3/4" & 1" S/F 3/8" UNC O.E PART NUMBER 671102387171 333 XXX XXX 5 SERIES 4.5 / 4 TON 3F / 1FZ ENGINE PETROL - GAS 5 SERIES 4.5 / 4 TON SPLINE BEARING MODIFICATION P17A193PX/12XX52-65 DESCRIPTION ; SHAFT 13 SPLINE P.E.C. 3 1/4" 2 BOLT MOUNT ROTATION CC/W PORTS SUC 1 1/4" NPT ON F/D BP 3/4" P 1/2" S.A.E. "O" X=F/D PRIORITY 5 LITRE FOR BRAKES 120 BAR PRESSURE 333 XXX XXX 5 SERIES 4.5 / 4 TON 11Z ENGINE DIESEL 5 SERIES 4.5 / 4 TON SPLINE BEARING MODIFICATION P17A193PX/12XX52-65 DESCRIPTION ; SHAFT 13 SPLINE P.E.C. 3 1/4" 2 BOLT MOUNT ROTATION CC/W PORTS SUC 1 1/4" NPT ON F/D BP 3/4" P 1/2" S.A.E. "O" X=F/D PRIORITY 5 LITRE FOR BRAKES 120 BAR PRESSURE 332 XXX XXX 5 SERIES 1 / 1.3 / 1.5 / 3 TON MOTOR ELECTRIC P11 A193BE XX 10 - XX DESCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 2 BOLT ROTATION C/W PORTS ON HOUSING S.A.E. "O" 5/8 & 3/4" 24VOLT=10cc 48 VOLT=14cc 5 SERIES 1.8 / 2 / 2.5 / 3 TON 5 SERIES 4.5 / 4 TON PLEASE NOTE: ALL O.E.M. NAMES OR NUMBERS ARE FOR REFERENCE USE ONLY PAGE 66 01/01/2009 3. Part Number FORKLIFT PUMPS TOYOTA RH 334 9111 935 6 SERIES 1.8 / 2 / 2.5 / 3 TON 4Y ENGINE PETROL - GAS P11 A193 X BE FB 31 - XX DISCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 10X1.25; ROTATION C/W PORTS ON HOUSING 4 BOLT 3/4" & 1" S/F METRIC 10X1.25 O.E PART NUMBER 671102362071 RH 334 9111 935 6 SERIES 1.8 / 2 / 2.5 / 3 TON 1DZ ENGINE DIESEL P11 A193 X BE FB 31 - XX DESCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 10X1.25; ROTATION C/W PORTS ON HOUSING 4 BOLT 3/4" & 1" S/F METRIC 10X1.25 O.E PART NUMBER 332 9110 XXX 6 SERIES 2 / 2.5 / 3 TON 2Z ENGINE DIESEL P11 A193 X BE XX 31 - XX DESCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 10X1.25; ROTATION C/W PORTS P.E.C. 1" S.A.E "O" & 5/8" S.A.E "O" O.E PART NUMBER 333 XXX XXX 6 SERIES 4.5 / 4 TON 3F / 1FZ ENGINE PETROL - GAS 6 SERIES 4.5 / 4 TON SPLINE BEARING MODIFICATION P17A193PX/12XX52-65 DESCRIPTION ; SHAFT 13 SPLINE P.E.C. 3 1/4" 2 BOLT MOUNT ROTATION CC/W PORTS SUC 1 1/4" NPT ON F/D BP 3/4" P 1/2" S.A.E. "O" X=F/D PRIORITY 5 LITRE FOR BRAKES 120 BAR PRESSURE 333 XXX XXX 6 SERIES 4.5 / 4 TON 11Z ENGINE DIESEL 6 SERIES 4.5 / 4 TON SPLINE BEARING MODIFICATION P17A193PX/12XX52-65 DESCRIPTION ; SHAFT 13 SPLINE P.E.C. 3 1/4" 2 BOLT MOUNT ROTATION CC/W PORTS SUC 1 1/4" NPT ON F/D BP 3/4" P 1/2" S.A.E. "O" X=F/D PRIORITY 5 LITRE FOR BRAKES 120 BAR PRESSURE 332 XXX XXX 6 FBRE SERIES 1 / 1.3 / 1.5 / 3 TON MOTOR ELECTRIC P11 A193BE XX 10 - XX DESCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 2 BOLT ROTATION C/W PORTS ON HOUSING S.A.E. "O" 5/8 & 3/4" 24VOLT=10cc 48 VOLT=14cc 6 SERIES 1.8 / 2 / 2.5 / 3 TON 6 SERIES 4.5 / 4 TON PLEASE NOTE: ALL O.E.M. NAMES OR NUMBERS ARE FOR REFERENCE USE ONLY PAGE 67 01/01/2009 4. Part Number FORKLIFT PUMPS TOYOTA RH 334 9111 933 7 SERIES 1.8 / 2 / 2.5 / 3 TON 4Y ENGINE PETROL - GAS P11 A193 X BE XX 31 - XX DISCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 10X1.25; ROTATION C/W PORTS ON HOUSING 4 BOLT 1" S/F METRIC 10X1.25 PEC 5/8" "O" O.E PART NUMBER RH 334 9111 933 7 SERIES 1.8 / 2 / 2.5 / 3 TON 1DZ11 ENGINE DIESEL P11 A193 X BE XX 31 - XX DESCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 10X1.25; ROTATION C/W PORTS ON HOUSING 4 BOLT 1" S/F METRIC 10X1.25 PEC 5/8" "O" O.E PART NUMBER 332 9110 XXX 7 SERIES 2 / 2.5 / 3 TON 2Z ENGINE DIESEL P11 A193 X BE XX 31 - XX DESCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 10X1.25; ROTATION C/W PORTS P.E.C. 1" S.A.E "O" & 5/8" S.A.E "O" O.E PART NUMBER 333 XXX XXX 7 SERIES 4.5 / 4 TON GM ENGINE PETROL - GAS 7 SERIES 4.5 / 4 TON SPLINE BEARING MODIFICATION P17A193PX/12XX52-65 DESCRIPTION ; SHAFT 13 SPLINE P.E.C. 3 1/4" 2 BOLT MOUNT ROTATION CC/W PORTS SUC 1 1/4" NPT ON F/D BP 3/4" P 1/2" S.A.E. "O" X=F/D PRIORITY 5 LITRE FOR BRAKES 120 BAR PRESSURE 333 XXX XXX 7 SERIES 4.5 / 4 TON 13Z ENGINE DIESEL 7 SERIES 4.5 / 4 TON SPLINE BEARING MODIFICATION P17A193PX/12XX52-65 DESCRIPTION ; SHAFT 13 SPLINE P.E.C. 3 1/4" 2 BOLT MOUNT ROTATION CC/W PORTS SUC 1 1/4" NPT ON F/D BP 3/4" P 1/2" S.A.E. "O" X=F/D PRIORITY 5 LITRE FOR BRAKES 120 BAR PRESSURE 332 XXX XXX 7 FBRE SERIES 1 / 1.3 / 1.5 / 3 TON MOTOR ELECTRIC P11 A193BE XX 10 - XX DESCRIPTION ; SHAFT 10 SPLINE P.E.C. 3 1/4" MOUNT 2 BOLT ROTATION C/W PORTS ON HOUSING S.A.E. "O" 5/8 & 3/4" 24VOLT=10cc 48 VOLT=14cc 7 SERIES 1.8 / 2 / 2.5 / 3 TON 7 SERIES 2 / 2.5 / 3 TON 2Z ENGINE PLEASE NOTE: ALL O.E.M. NAMES OR NUMBERS ARE FOR REFERENCE USE ONLY PAGE 68 01/01/2009 5. Part Number FORKLIFT PUMPS T C M NF SERIES 2.5 TON PETROL H20 OR Z24 C/W / C/U RH 334 9112 511 P11 A193 X BE FB 31 - XX XXSEC CUT OUT NF SERIES 2.5 TON DIESEL C240 OR Z2 CC/W / C/U RH 334 9112 511 P11 A193X BE FB 31 - XX XXSEC CUT OUT N6 SERIES 2.5 TON DIESEL OR PETROL NISSAN H20 CC/W / C/U RH 334 KYB 85A P511 KYB 85 A BE XX 23 - XX 16 mm PARR / KEY SHAFT 70mm SPIGOT 4 BOLT FHD SERIES 2.5 TON DIESEL C 240 / Z2 CCW / CU 332 XXX XXX P11 A193 X REXX 31 - XX XXSEC CUT OUT / PEC REAR PORTS CAST IRON FHG SERIES 2.5 TON PETROL H 20 / Z 24 CW / CU 332 XXX XXX P11 A293 X REXX 31 - XX XXSEC CUT OUT / PEC REAR PORTS CAST IRON FRSB SERIES 2 TON 1150 15H2 ELECTRIC CC/W / C/U 332 XXX XXX P11 A293 X BE XX 10 - XX XXSEC CUT OUT / ports bspp "O" FRSB SERIES 2.5 TON 25 A 4 18 A 4 ELECTRIC CC/W/C/U 332 XXX XXX P11 A293 X BE XX 16 - XX XXSEC CUT OUT / PORTS SAE "O" 326 XXX XXX FD 70 Z 7 SERIES 7 TON P315 SPECIAL 80mm spigot diesel CW&CCW P315 PLZ. NOTE; # DENOTES CHANGE ROTATION PLZ. NOTE; * DENOTES 1 HOUR ASSEMBLY XXX DENOTES 2 HOUR OR 24 HOUR ASSEMBLY NF SERIES P511 KYB 85 A FHD / FHG SERIES PLEASE NOTE: ALL O.E.M. NAMES OR NUMBERS ARE FOR REFERENCE USE ONLY PAGE 69 01/01/2009 6. Part Number FORKLIFT PUMPS HYSTER XL SERIES 2.5 TON PETROL C/W RH 334 9112 288 P11A193PAX10XX23XX XXXCHANGE ROTATION XL SERIES 2.5 TON DIESEL CC/W RH 334 9112 288 P11A293PAX10XX23XX XL SERIES 4 / 5 TON F5 / G5 DIESEL CC/W RH 324 9110 127 P330A297XXAB17-25 XL SERIES H16 TON 5 HIGH DIESEL C/W RH 322 9529 072 P365B178XXAB13-7/P330AXXAB10-XXPRV1V XL SERIES 2 - 2.5 TON E2 / E3 ELECTRIC C/W 332 XXX XXX P11A193BEXX19-97 XXPORTS S/F M10X1.5 / SHAFT 5/8"P/KEY XM SERIES 2.5 TON DIESEL CC/W 332 XXX XXX P11 A293X PA / 10 XX 27 - 92 XXSEC CUT OUT / 11 TOOTH XM SERIES 2.5 TON PETROL / GAS C/W 332 XXX XXX P11 A193X PA / 10 XX 27 - 92 XXSEC CUT OUT / 11 TOOTH H40H / H60H SERIES DIESEL CC/W 333 9110 222* P17A193PE/10AJ38-65 H40H / H60H SERIES PETROL C/W 333 9110 222* P17A193PE/10AJ38-65 H40H / H60H SERIES GM ENGINE PETROL CC/W RH 333 9110 232* P17A293PE/10AJ38-65 PLZ. NOTE; * DENOTES : 1 HOUR ASSEMBLY XXX DENOTES 2 HOUR OR 24 HOUR ASSEMBLY XL / XM SERIES H40H SERIES PLEASE NOTE: ALL O.E.M. NAMES OR NUMBERS ARE FOR REFERENCE USE ONLY PAGE 70 01/01/2009 7. Part Number FORKLIFT PUMPS CLARK DPN 25 / 30 SERIES 2 - 3 TON DIESEL CW 332 9110 XXX P11 A193 PA / 10 xx 23 - 96 XXPORTS BOSCH TYPE SQUARE / 9 TOOTH NISSAN SERIES EH02U 2.5 TON DIESEL C/W RH 334 9112 288 P11 A193PAX10XX23XX XXPEC CUT OUT / ENGINE SD25 MITSUBISHI FD 15 SERIES 1.5 TON CC/W 332 9110 XXX P11 A293PC09FD33XX XXSHAFT 10 TOOTH 17.7mm OD SPECIAL SUCTION PORT 3/4" S/F M8 MITSUBISHI FD 25 SERIES 2.5 TON CC/W 332 9110 XXX P11 A293PC09FD33XX XXSHAFT 10 TOOTH 17.7mm OD SPECIAL SUCTION PORT 1" S/F M10X1 WARNING 82mm SPIGOT PART NUMBER 7733204086051 KALMAR SERIES EC7 25 TON DIESEL CW RH 322 9111 239 P365 A178ETAB17-7 MAIN KALMAR SERIES DCD 280 28 TON PETROL CCW RH 324 9110 239 P330 A197XXAB20-25 STEER KALMAR SERIES DCD 280 28 TON DIESEL CW RH 322 9111 239 P365 A178ETAB17-7 MAIN KALMAR SERIES DCD 280 28 TON DIESEL CW RH 324 9110 239 P330 A197XXAB20-25 STEER Mitsubishi Forklift Kalmar Forklift Kalmar Forklift PLEASE NOTE: ALL O.E.M. NAMES OR NUMBERS ARE FOR REFERENCE USE ONLY PAGE 71 01/01/2009

วันจันทร์ที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2557

รถกอล์ฟน้ำมัน YAMAHA จอดเสียมานาน

ตรวจเช็ครถกอล์ฟ HITACHI 02

ตรวจเช็ครถกอล์ฟ HITACHI 01

ลูกค้าสอบถามราคา โซลินนอยด์ 12v รถ power lift

ชุดบอร์ดควบคุมรถโฟล์คลิฟท์ SHINKO 2.5 ตัน ยืนขับ รุ่น 8

สภาพรถกอล์ฟน้ำมัน YAMAHA ลูกค้าส่งมาให้เสนอราคาซ่อม

FORKLIFT TCM FA15A อาการเสีย เวลายกมีเสียงดัง

วันศุกร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2557

การวิเคราะห์การสึกหรอเครื่องยนต์และหลักการซ่อมก่อนเสีย


การวิเคราะห์การสึกหรอเครื่องยนต์และหลักการซ่อมก่อนเสีย
การสึกหรอของเครื่องยนต์
       การสึกหรอของเครื่องยนต์จำแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ การสึกหรอโดยปกติและการสึกหรอผิดปกติ
ชิ้นส่วนหลักที่อายุการใช้งานสั้น
-   กระบอกสูบ
-   แหวนสูบ
-   ซีลและแบริ่งของเทอร์โบชาร์จ
-   ลิ้น ปลอกก้านลิ้นและบ่าลิ้น
-   แบริ่งเพลาข้อเหวี่ยงและแบริ่งก้านสูบ

   การสึกหรอปกติ
      การสึกหรอปกติจะเกิดกับเครื่องยนต์ทุกเครื่องในชิ้นส่วนที่มีการเสียดสี  หรือถูไถ  หรือต้องทำงานร่วมกับส่วนอื่นๆ  โดยทั่วไปแล้วการสึกหรอจะเกิดขึ้นในทุกเครื่องยนต์ตลอดอายุการใช้งาน  อันจะรวมถึงการสึกหรอในแหวนลูกลูบ เสื้อสูบ  ลิ้น ปลอกก้านลิ้นแบริ่ง และถ้ามีเทอร์โบชาร์จ  ก็จะรวมถึงแบริ่งเทอร์โบชาร์จ                
                                                        และซีลด้วย
การสึกหรอที่ผิดปกติ
การสึกหรอที่ผิดปกติ  คือ การสึกหรอนอกเหนือจากการสึกหรอปกติจากการทำงานของเครื่องยนต์ ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว  การสึกหรอที่ผิดปกติจะเกิดจากการบำรุงรักษาหรือการใช้เครื่องยนต์อย่างผิดวิธี เช่น การใช้น้ำมันเครื่องไม่ถูกต้อง  ทิ้งช่วงห่างระหว่างการเปลี่ยนน้ำมันเครื่องนานเกินไป  หรือการอุ่นเครื่องไม่เพียงพอก่อนใช้งานเหล่านี้ล้วนเป็นสาเหตุนำไปสู่การสึกหรอผิดปกติ  หรืออาจทำให้เครื่องยนต์ชำรุดได้ก่อนถึงเวลาอันควร
ชิ้นส่วนดังกล่าวมีราคาถูก  เมื่อเปรียบเทียบกับชิ้นส่วนอื่น และถ้ามีการเปลี่ยนอะไหล่ตรงตามเวลาที่กำหนดอย่างถูกต้องแล้ว  จะไม่ต้องเปลี่ยนชิ้นส่วนอื่นที่ราคาแพง เช่น ฝาสูบ เสื้อสูบ เพลาข้อเหวี่ยง ก้านสูบ อีกเลย เพราะว่าจะไม่เกิดการเสียหายลุกลามไปถึงชิ้นส่วนนั้น
หลักการซ่อมก่อนเสีย
แนวคิดนี้เป็นหลักสำคัญในการวางแผนเพื่อการซ่อมบำรุงก่อนที่จะมีความเสียหายเกิดขึ้น ลองเปรียบเทียบดูว่าการซ่อมก่อนเสียและซ่อมหลังเสียแตกต่างกันอย่างไร  และการซ่อมก่อนเสียจะให้ประโยชน์เช่นไรบ้าง
ในตัวอย่างการซ่อมหลังเสียต่อไปนี้ ผู้ใช้เครื่องยนต์ละเลยไม่สนใจกับอาการบอกสาเหตุของเครื่องยนต์ ยังคงใช้งานต่อไป จนกระทั่งแบริ่งเพลาข้อเหวี่ยงชำรุด ซึ่งยังส่งผลให้เพลาดังกล่าวเสียหายมาก กล่าวคือ เสียหายจนไม่อาจนำไปเชื่อมพอกเพื่อนำกลับไปใช้อีกได้ ทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นอันมาก
ส่วนในกรณีของการซ่อมก่อนเสียนั้น เครื่องยนต์จะได้รับการบำรุงรักษาอย่างถูกต้องและผู้ใช้คอยตรวจดูสิ่งบอกอาการ  เช่น เมื่อผลการวิเคราะห์ตัวอย่างน้ำมันเครื่อง มีเศษโลหะแบริ่งแสดงว่ามีการสึกหรอของแบริ่ง ผู้ใช้เครื่องยนต์ต้องรีบกำหนดวันซ่อมทันที ก่อนที่จะเกิดการชำรุดลุกลาม โดยการเปลี่ยนแบริ่งซึ่งราคาไม่แพง และช่วยป้องกันความเสียหายแก่เพลาข้อเหวี่ยง  หรือส่วนอื่นๆได้ จากตัวอย่างที่ยกมา สามารถสรุปถึงผลประโยชน์ที่ผู้ใช้เครื่องยนต์จะได้รับหากเขาใช้แนวคิดของการซ่อมก่อนเสีย ดังต่อไปนี้
           1.  การซ่อมก่อนเสีย สามารถหยุดยั้งปัญหาได้ก่อนที่ความเสียหายจะลุกลามไปถึงชิ้นส่วนอื่นๆ ของเครื่องยนต์ ผู้ใช้เครื่องยนต์สามารถหลีกเลี่ยงความเสียหายแก่เพลาข้อเหวี่ยงลูกสูบ ลิ้น เพลาราวลิ้น และส่วนอื่นๆ ได้ด้วยการซ่อมก่อนเสีย
          2.  การซ่อมก่อนเสีย  จะช่วยหลีกเลี่ยงค่าแรงงานที่ไม่จำเป็นได้ดังตัวอย่างค่าแรงงานสำหรับการยกเครื่องยนต์ออกจากตัวรถยนต์จะไม่เกิดขึ้น เพราะว่าการซ่อมสามารถกระทำได้โดยไม่ต้องยกเครื่อง ซึ่งหมายความว่าค่าแรงจะน้อยลง
             ระยะเวลาสำหรับการยกเครื่องจะแตกต่างกันไป แล้วแต่รุ่นรถ  ตำแหน่งเครื่อง ความยากง่ายในการถอดส่วนประกอบอื่นๆ ดังนั้นการซ่อมโดยเครื่องยนต์อยู่กับที่จึงใช้เวลาค่าแรงน้อยกว่า สำหรับลูกค้าแล้ว การซ่อมก่อนเสียจะมีประโยชน์คือ มีส่วนที่จะต้องเปลี่ยนอะไหล่น้อยจุดเสียเวลาและค่าแรงจะต่ำด้วย
3.   การซ่อมก่อนเสีย ช่วยลดเวลาที่จะซ่อม เพราะการซ่อมจะใช้เวลาน้อยกว่าการซ่อมหลังเสีย โดยทั่วๆ ไปแล้ว จะกลับมาใช้งานได้เร็วกว่าการซ่อมหลังเสียเป็นเวลา 3 ถึง 10 วัน และบ่อยครั้ง การซ่อมจะกินเวลาน้อยลงได้ถึงครึ่งหนึ่งทีเดียว
4.       การซ่อมก่อนเสียจะป้องกันมิให้เกิดความเค้นในเนื้อวัสดุ (Stress)  และความเสียหายลุกลามติดต่อไปยังชิ้นส่วนอื่นๆ ของระบบส่งกำลัง เช่น คลัตช์ทอร์กคอนเวอร์เตอร์ และกระปุกเกียร์
การซ่อมก่อนเสีย 3 ขั้นตอน
-   บำรุงรักษาตามกำหนด (Preventive   
    Maintenance)
-   คอยสังเกตสิ่งที่บ่งบอกอาการไม่ดี
-   ดำเนินการซ่อม

5.  การซ่อมก่อนเสีย เปิดโอกาสให้ผู้ใช้รถได้วางแผนกำหนดเวลาจอดซ่อมได้ตามสะดวก
วิธีการซ่อมก่อนเสียมี 3 ขั้นตอน
1.       ให้การบำรุงรักษาตามกำหนดอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ทุกระบบอยู่ในสภาพดี
2.       คอยสังเกตสิ่งที่บอกอาการ เพื่อจะได้ทราบปัญหาแต่เนิ่นๆ ซึ่งทราบได้ เมื่อเครื่องยนต์มีอาการ เช่น กินน้ำมันเครื่องมากหรือมีควันดำมากผิดปกติ เป็นต้น
3.       รีบแก้ไขอาการที่พบ เพื่อป้องกันมิให้ความเสียหายลุกลามออกไป ซึ่งจะประหยัดค่าใช้จ่ายได้ด้วยการซ่อมก่อนเสีย
              กุญแจสำคัญในการซ่อมก่อนเสีย คือ จะต้องสังเกตอาการที่แสดงว่าจะมีการสึกหรอผิดปกติของเครื่องยนต์ หากพบอาการและลงมือแก้ไขแต่เนิ่นๆ แล้ว ก็สามารถแก้ปัญหาได้อย่างง่ายดายและเสียค่าใช้จ่ายน้อย อย่าละเลยเพิกเฉยกับอาการผิดปกติของเครื่องยนต์นะครับ

วันพฤหัสบดีที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2557

เรื่องของรถยก


                ถึงแม้ว่าในขณะนี้เมืองไทยเรามีการพัฒนาในด้านอุตสาหกรรมก้าวหน้าไปกว่าแต่ก่อนอย่างมาก  แต่ยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่เรายังมองข้าม  คือความสนใจในการพัฒนานำเครื่องทุ่นแรง
 (
Material Handling)   มาใช้ประโยชน์ยังมีอยู่น้อย
                ความจริงแล้วหากมีการนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับงานจะทำให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้อย่างมาก  สามารถประหยัดเนื้อที่โกดังเก็บสินค้าและวัตถุดิบเป็นการพยายามใช้ประโยชน์ตามแนวตั้งให้มากขึ้น  ประหยัดค่าใช้จ่ายและแรงงานได้  รถยกนับได้ว่าเป็นหนึ่งในเครื่องทุ่นแรงที่ใช้ประโยชน์กันได้แทบทุกโรงงาน  ซึ่งความจริงแล้วมีให้เลือกใช้งานหลายรูปแบบหากจะแบ่งเป็นชนิดใหญ่ๆ  ก็แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
                1.  รถยกระดับต่ำ (Low Lift Trucks) รถยกแบบนี้เป็นเครื่องทุ่นแรงที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของหนักๆไปตามพื้นราบ  จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ระยะยกจะเตี้ยเพียง 4 นิ้ว ถึง 6 นิ้ว โดยมีจุดประสงค์เพียงให้ของที่จะยกอยู่พ้นจากพื้นในขณะที่เราลากเคลื่อนที่เท่านั้น  ตัวอย่างการใช้งาน  เช่น ขยับเครื่องจักรให้พ้นจากพื้น เพื่อหนุนหมอนรอง, การใช้เคลื่อนย้ายแม่พิมพ์เหล็กที่มีน้ำหนักมากๆจากโกดังมายังจุดที่ใช้งาน,  หรือการเคลื่อนย้ายสินค้าที่วางบนแท่นไม้ (Pallet)
รถยกระดับต่ำ  แบบที่นิยมใช้กันมากเรียกว่า 
Pallet Truck  ซึ่งมีลักษณะเป็น 2 งายกมีล้อเล็กๆ อยู่ที่ส่วนปลายของงายกซึ่งสามารถยกให้สูงขึ้นจากพื้นเล็กน้อย เมื่อต้องการยกของแล้วลากไปหรือหดให้ต่ำลงในขณะที่ต้องการจะช้อนของขึ้น  โดยอาศัยระบบไฮดรอลิกในการผ่อนกำลังขณะยก  ล้อหลังเป็นล้อคู่ใหญ่  ซึ่งบังคับเลี้ยวได้ด้วย  มีคั้นโยกเพื่อบังคับปั้มไฮครอลิกให้ยกของขึ้น-ลง  และใช้ลากจูงพร้อมทั้งบังคับเลี้ยวไปได้ในตัว
                รถ Pallet Truck  นี้นับได้ว่าเป็นรถยกที่มีราคาถูกที่สุด  จึงมีผู้นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายเกือบทุกโรงงาน  อย่างไรก็ตามผู้ผลิตรถ Pallet Truck  ก็ได้พยายามคิดค้นปรับปรุงคุณภาพของรถยกให้เหมาะสมกับการใช้งานลักษณะต่างๆ  เช่น มีการพัฒนาล้อหน้าที่เป็นงายก  ซึ่งปกติเป็นล้อเดี่ยว  อาจมีปัญหาในการใช้งานตามพื้นที่ที่ขรุขระหรือการลากขึ้นเนินมีการดัดแปลงเป็นล้อคู่  ทำให้ลากผ่านพื้นที่ขรุขระได้อย่างสะดวก  อีกทั้งเป็นการเฉลี่ยน้ำหนักที่ถ่ายลงพื้นอีกด้วย  เพราะมีจุดถ่ายน้ำหนักเพิ่มเป็น 6 จุด
                นอกจากนี้แล้ววัสดุที่ใช้ทำล้อยังมีหลายชนิด  เช่น  เป็นล้อไนล่อน (Nylon)   เหมาะกับพื้นที่แข็งและเรียบ  เพราะล้อไนล่อนจะสึกหรอได้ยากแต่ลื่นทำให้เบาแรงแต่ถ้าจะลากบนพื้นที่อ่อน  เช่น  พื้นไม้หรือต้องการไม่ให้เกิดเสียงดังในขณะลากผ่านก็จะใช้ล้อโพลียูรีเทน (Polyurethane)  แต่ถ้าลากผ่านพื้นที่เป็นกรวดหรือขรุขระมากๆอาจจะทำลายล้อได้ง่าย  ก็จะใช้ล้อเหล็กแทน
                เนื่องจากสภาพในโรงงานต่างๆไม่เหมือนกัน  บางโรงงานจะมีสภาพที่เปียกน้ำอยู่เสมอ  บางโรงงานจะต้องอยู่ในบรรยากาศที่ร้อนหรือเย็นจัด  หรืออยู่ในสภาพที่มีการกัดกร่อนมากกกว่าปกติ  ดังนั้นการเลือกใช้รถยก Pallet Truck  จำเป็นต้องเลือกชนิดที่ผู้ผลิตได้สร้างขึ้นเป็นพิเศษ  เช่นแกนล้อเป็นสเตนเลส  งายกทำด้วยเหล็กชุบสังกะสี  นอกจากนี้แล้วเพื่อเหมาะกับการวางของหลายๆชิ้น  ก็มีการสร้างรถยกที่เป็นพื้นเรียบใหญ่แทน   ที่จะเป็นขา 2 ขาให้เลือกใช้อีกด้วย  เป็นต้น
                เพื่อจะเป็นการผ่อนแรงสำหรับการปฏิบัติงานของพนักงานที่ต้องการลากของหนักๆ  ก็มีการพัฒนารถยก Pallet Truck  แบบติดตั้งมอเตอร์ช่วยผ่อนแรงโดยมีแบตเตอรี่เป็นแหล่งพลังงานทำให้สามารถยกและลากของหนักได้ถึง 3 ตัน
                2. รถยกระดับสูง  (High  Lift Trucks) รถยกแบบนี้เป็นเครื่องทุ่นแรงซึ่งนอกจะใช้เคลื่อนที่ของหนักไปตามพื้นที่ราบแล้ว  ยังใช้ยกของขึ้นวางบนหอที่อยู่สูงได้ นับเป็นเครื่องทุ่นแรงที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บสินค้า  และวัตถุดิบในโกดังให้เป็นระเบียบเรียบร้อย  และประหยัดพื้นที่ได้อย่างสูงมาก  ด้วยเครื่องทุ่นแรงนี้สินค้าหรือวัตถุดิบจะวางบนกระบะไม้  รถจะยกช้อนทั้งกระบะไปวางบนหิ้งหรือถ้าสินค้ามีภาชนะบรรจุที่รับน้ำหนักได้  เช่น  เป็นถัง ก็อาจจะไม่จำเป็นต้องมีหิ้งแต่จะใช้วิธีช้อนกระบะขึ้นไปก็ได้
                รถยกระดับสูงนี้มีผู้ผลิตสร้างขึ้นมาหลายรูปแบบ  เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานของลูกค้าโดยพยายามให้ตัวรถมีขนาดเล็ก  มีความคล่องตัวในการหมุนกลับตัว  เพื่อจะไปแทรกตัวเข้าไปในช่องทางเดินระหว่างชั้นเก็บของได้สะดวก  ทำให้ไม่ต้องเผื่อที่กว้างนักจะได้จัดโกดังได้ประสิทธิภาพ  นอกจากนี้ยังมีการคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานอีกด้วย  จึงได้เกิดรถยกระดับสูงหลายรูปแบบซึ่งจะขอยกตัวอย่าง 3 รูปแบบในที่นี้
 2.1  รถยกแบบเดินตาม (Pedestrain stacker)  เป็นรถยกระดับสูงที่กินเนื้อที่น้อยที่สุด  สามารถมุดเข้าไปในตู้คอนเทนเนอร์ (Container) ซึ่งกระบะของรถบรรทุกหรือเข้าไปในตู้รถไฟได้  รถชนิดนี้ผู้ปฏิบัติงานเคลื่อนไหวได้อิสระจะยืนที่ตำแหน่งใดรอบตัวรถก็ได้  ทำให้มองเห็นทัศนียภาพได้ชัดเจน  มีมอเตอร์ช่วยผ่อนแรงในการยกน้ำหนักและการเคลื่อนที่  ในขณะที่รถแล่นอาจจะปล่อยที่วางเท้าลงแล้วผู้ปฏิบัติงานยืนบนที่วางเท้าทำให้สบายขึ้น  ระบบความปลอดภัยก็ได้จัดให้มีที่ป้องกันเท้าไม่ให้สอดเข้าไปทุกล้อ  เพื่อป้องกันล้อทับเท้าได้  นอกจากนี้ยังมีระบบเบรกและคันโยกบังคับ  ที่มีปุ่มบังคับต่างๆอยู่พร้อม  ทำให้ปฏิบัติงานได้สะดวก  จุดศูนย์ถ่วงได้รับการออกแบบให้อยู่ภายในตัวรถทำให้ปลอดภัยไม่คว่ำขณะยกของขึ้นสูง  รถชนิดนี้จึงเหมาะกับงานที่มีการเคลื่อนที่ไม่ไกลและยกน้ำหนักไม่มากนัก  โดยปกติแล้วผู้ผลิตจะออกแบบให้สามารถยกน้ำหนักได้ประมาณ 1.2 ตัน  ยกได้สูงที่สุดประมาณ 5 เมตร ในขณะที่เคลื่อนที่อาจจะอยู่เหนือพื้นดินประมาณ 145 มิลลิเมตร  เพื่อไม่ให้ขูดถูกพื้น  และความเร็วในการเคลื่อนที่ประมาณ
6-8 กม./ชม
                2.2  รถยกแบบยืน (stand on stacker)  เ นื่องจากโกดังบางแห่งมีการกองสินค้าหรือวัตถุดิบไว้สูงมาก  โรงงานบางแห่งก็มีโรงซ่อมบำรุงซึ่งมักมีกองวัสดุเหลือใช้ค่อนข้างไม่เป็นระเบียบ  อาจเกิดอันตรายได้ง่าย  จึงมีการออกแบบรถยกแบบยืน  ที่ให้ผู้ปฏิบัติงานยืนอยู่ในเสา 4 เสาที่แข็งแรงป้องกันอันตรายจากของหล่นทับลงมาบนศีรษะเขาได้  ถ้ามีอะไรมากระแทกก็จะกระแทกถูกเสาก่อน  เป็นการรับรองความปลอดภัยให้ผู้ปฏิบัติงาน  การบังคับให้รถหยุดก็สามารถบังคับได้ทั้งจากเท้าเหยียบหรือโยกคันโยกด้วยมือ  ซึ่งทำให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถยืนอยู่บนเท้าทั้งสองได้ไม่ต้องยืนเท้าเดียวซึ่งอาจไม่ถนัด
                รถยกแบบนี้จึงเหมาะสมกับงานที่ต้องการความปลอดภัยและต้องมีการยกขึ้นลงบ่อยๆมีการเคลื่อนที่ไม่ไกลนัก
                2.3  รถยกแบบนั่ง (Rider seated stacker)
ในกรณีที่ต้องมีการเคลื่อนย้ายไประยะไกลขึ้นหรือต้องการทำงานติดต่อกันตลอดทั้งวัน  จำเป็นต้องอำนวยความสะดวกแก่ผู้ปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น  คือ  ทำที่นั่งให้ภายในตัวรถ  ซึ่งจะทำให้กินเนื้อที่มากกว่าแบบยืนเล็กน้อย  รถชนิดนี้จะแปลกสักหน่อยที่ผู้ปฏิบัติงานจะนั่งหันข้างให้กับการเคลื่อนที่  ทั้งนี้ต้องออกแบบให้กะทัดรันที่สุด  รถประเภทนี้มีอุปกรณ์ต่างๆ  เหมือนกับรถขับ  มีคันเร่ง  มีเบรกที่บังคับด้วยเท้า  ความเร็วในขณะเคลื่อนที่ประมาณ 8-12 กม./ชม.  ผู้ปฏิบัติงานจะได้รับการป้องกันด้วยเสารอบด้าน  และหลังคาด้านบน
                รถยกแบบนั่งอีกแบบหนึ่งที่นิยมใช้กันมากในเมืองไทย  คือรถ Fork lift  ซึ่งผู้ปฏิบัติงานนั่งหันหน้าไปในทิศทางการเคลื่อนที่ของรถ  โดยมีงายก 2 งายกอยู่ด้านหน้ารถ  ซึ่งยกขึ้นลงได้สูงและรถขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ดีเซล, เบนซิน, หรือมอเตอร์ไฟฟ้าตามแต่จะเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน  อย่างไรก็ตามรถแบบนี้จะกินเนื้อที่ยาวกว่าแบบที่กล่าวข้างต้น  เวลาเลี้ยวจะต้องตีวงกว้างขึ้น  แต่ก็สะดวกในการขับระยะทางไกลระหว่างโกดังต่างๆ  เพราะผู้ปฏิบัติงานไม่ต้องบิดคอตลอดเวลา  และห้องคนขับก็กว้างขวางกว่าด้วย  น้ำหนักตัวรถพร้อมเครื่องมีมาก  ทำให้ถ่วงน้ำหนักเป็นผลให้ยกน้ำหนักได้มากขึ้น
                นอกจากรถยกแบบต่างๆที่กล่าวข้างต้นแล้ว  ยังอาจจะมีแบบพิเศษอื่นที่ผู้ผลิตออกแบบให้เหมาะสมกับงานชนิดพิเศษต่างๆ  ดังนั้นหากท่านจะเลือกใช้ต้องสำรวจความต้องการและสภาพในโรงงานของท่าน  แล้วเลือกดูจากผู้ผลิตรายต่างๆว่าแบบใดตรงกับความต้องการของท่าน  ท่านต้องเลือกทั้งลักษณะการใช้งาน,น้ำหนักที่จะยก, ความสูงที่ต้องการยก, ขนาดความกว้าง, วงเลี้ยว, การขับเคลื่อนวัสดุที่ใช้ในชิ้นส่วนต่างๆ  สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมได้หรือไม่, ฯลฯ  รถยกประเภทต่างๆ  ในเมืองไทยมีทั้งที่ผลิตในประเทศและที่ส่งเข้าจากต่างประเทศ  ซึ่งย่อมมีข้อดีข้อเสียบางประการแตกต่างกัน  จึงขึ้นอยู่กับรายละเอียดที่ท่านต้องพิจารณาเลือกให้เหมาะสมกับงานของท่าน


จากรูป  เมื่อเปรียบเทียบจะได้ตามตาราง
รายการเปรียบเทียบรถโฟล์คลิฟท์
รายการเปรียบเทียบ
Counterbalance
1 Deep Reach Truck
2 Deep Reach Truck
VNA
ความกว้างเลนรถวิ่ง (เมตร)
4.5
3.2
3.4
1.8
ความสูงของรถที่สามารถยกได้ (เมตร)
4.5
11.5
11.5
16.5
% การใช้ปริมาตรคลังสินค้า
30
50-55
70
90
ราคารถ (ล้านบาท)
.70
1.5
1.8
4.3

วันอังคารที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2557

RFID Enabled Forklift System

รถยกอัจฉริยะติดตั้งระบบอาร์เอฟไอดี
ในที่สุดระบบอาร์เอฟไอดีเคลื่อนที่ซึ่งสามารถให้ข้อมูลตำแหน่งที่ตั้งแบบ ณ เวลาจริง และความสามารถในด้านการติดตามข้อมูลในสภาพแวดล้อมจริงของคลังสินค้าก็เกิดขึ้นแล้ว ภายใต้วิสัยทัศน์ร่วมกันของบริษัท ซิสโก้ ซิสเต็มส์ บริษัท เรดแพรรี (RedPrairie) บริษัท อินเตอร์เมค อิงค์. และบริษัท     แคสเคด (Cascade) คอร์ป. ซึ่งเป็นผู้ผลิตรถยกรายใหญ่ที่สุดในโลก ด้วยการสร้างรถยกเป็นต้นแบบสำคัญของการแสดงความสามารถของอาร์เอฟไอดีในการะบุตำแหน่งที่ตั้งแบบ ณ เวลาจริงได้อย่างถูกต้องและพร้อมใช้งานในอุปกรณ์แห่งอนาคตนี้
รถยกคันนี้ประกอบด้วยชุดอุปกรณ์ Wireless Location Appliance ของบริษัท ซิสโก้ และซอฟต์แวร์ Mobile Resource Management ในมาตรฐานแบบเปิดของบริษัท เรดแพรรี ผสานกับระบบอ่านอาร์เอฟไอดีสำหรับรถยกที่พัฒนาโดยบริษัท อินเตอร์เมค และบริษัท แคสเคด ด้วยระบบที่สมบูรณ์     ผู้ขับรถยกสามารถอ่านและเข้ารหัสป้าย (tag) อาร์เอฟไอดีได้อย่างสะดวก โดยไม่ต้องลงจากรถก่อน และผู้จัดการจะได้รับข้อมูลในเวลาจริงเกี่ยวกับตำแหน่งที่ตั้งและการทำงานของรถยกที่สามารถนำข้อมูลที่ได้นั้นมาใช้จัดการแรงงานและสินทรัพย์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
การผสานร่วมกันของ Unified Wireless Network ซึ่งเป็นบริการเครือข่ายไร้สายของบริษัท ซิสโก้ และ Wireless Location Appliance จะทำให้ผู้ใช้สามารถติดตามตำแหน่งของอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครือข่ายไร้สาย 802.11 ได้อย่างทั่วถึง ขณะที่ซอฟต์แวร์ของบริษัท เรดแพรรี จะช่วยระบุตำแหน่งของรถยกที่ติดตั้งอาร์เอฟไอดี รายงานการเคลื่อนที่ ตรวจสอบเวลาที่อยู่ และเก็บข้อมูลอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อความปลอดภัย ตรวจสอบประสิทธิภาพของพนักงาน พร้อมทั้งแอพพลิเคชั่นดูแลรักษาและจัดการสินทรัพย์
ซอฟต์แวร์ Mobile Resource Management ของบริษัท เรดแพรรี ที่ผสานเข้ากับ Wireless Location Appliance จะก่อให้เกิดการประมวลผลข้อมูลขั้นสูงและความสามารถในด้านส่วนการเชื่อมต่อ (อินเทอร์เฟซ) ที่ ทำให้ใช้งานร่วมกับระบบซอฟต์แวร์ที่มีอยู่เดิม ได้แก่ แอพพลิเคชั่นบริหารจัดการคลังสินค้า บริหารจัดการพื้นที่คลังสินค้า วางแผนแรงงาน และบริหารจัดการสินทรัพย์ ซอฟต์แวร์ดังกล่าวจะให้ข้อมูลใหม่เกี่ยวกับขั้นตอนการทำงาน การจัดการประสิทธิภาพกำลังคน และการใช้สินทรัพย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ระบบที่สมบูรณ์ดังกล่าวจะช่วยให้ผู้ขับรถยกที่ต้องใช้เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีร่วมด้วยนั้น สามารถทำงานได้อย่างสะดวกสบาย และยังให้ข้อมูลด้านการจัดการที่สามารถปรับใช้ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยส่วนต่างๆ ของระบบได้รวมเอาลักษณะเฉพาะที่สามารถเอาชนะข้อจำกัดทางกายภาพและไร้สายในสภาพแวดล้อมจริงของคลังสินค้าหรือโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ได้
รถยกของกลุ่มความร่วมมือนี้ได้ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ไว้ด้านหน้าคนขับ ในตำแหน่งที่มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูงสุด ขณะที่ส่วนควบคุมอาร์เอฟไอดีก็เข้าถึงได้อย่างง่ายดาย สามารถติดตามตำแหน่งได้ ณ เวลาจริง และยังมีไฟแอลอีดีนำทางเพื่อระบุเส้นทางที่เหมาะสม ตลอดจนเครื่องอ่านอาร์เอฟไอดีที่ถูกปรับให้ใช้งานง่ายขึ้น รถยกอัจฉริยะคันนี้ออกแบบมาให้สามารถทำงานในสภาพแวดล้อมจริงของคลังสินค้าปัจจุบัน นอกจากนี้ยังผสานระบบจัดการเคเบิล สแกนไร้สายรุ่นใหม่ และกล้องในตัวสำหรับช่วยงานด้านเอกสารของสินค้าให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย

วันอาทิตย์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2557

คุณสมบัติของโลหะ (Properties of Metals)

ความแข็ง (Hardness) เป็นคุณสมบัติที่มีสำคัญของโลหะ เป็นการยากที่จะให้คำอธิบายได้อย่างชัดเจน แต่ความหมายที่สามารถบอกได้ดีที่สุดก็คือ ความแข็ง คือ การต้านทานต่อการเสียรูปของวัสดุ หรือ ความต้านทานต่อการกระทำต่อวัสดุ เมื่อวัสดุสูญเสียความต้านทาน ก็จะก่อให้เกิด ความเสียหาย (Damaged), รอยบุ๋ม (Dent), ความเสื่อม หรือความทรุดโทรมอื่น ๆ ซึ่งเป็นผลที่ได้จากแรง หรือความกดดันที่กระทำต่อวัสดุนั้น ในความต้องการที่จะรู้ค่าความแข็งของวัสดุ จำเป็นต้องหาเครื่องมือมาวัด เครื่องมือนี้จะสร้างรอยกดบุ๋มเป็นจุด บนพื้นผิว ด้วยแรงกดที่กระทำบนพื้นผิววัสดุที่ต้องการทราบความแข็ง 

ความสัมพันธ์กันของความแข็งกับคุณสมบัติด้านอื่น ๆ
ความแข็ง คือคุณสมบัติของโลหะ ที่มีความสำคัญต่อวัสดุ ซึ่งมีการเกี่ยวพันกับคุณสมบัติอื่น ๆ ของโลหะด้วย เช่น ความแข็งแกร่ง (Strength), ความเปราะ (Brittleness) และความสามารถในการยืดตัว (Ductility) ในการวัดความแข็งของโลหะนั้น จะเป็นการวัดความแข็งแกร่ง, ความเปราะ และยืดเป็นแผ่นของโลหะ โดยทางอ้อมโดยทราบจากการทดลอง แล้วนำมาคำนวณหาคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกันได้ 

ประโยชน์ที่ได้จากการทราบค่าความแข็งของโลหะมีมากมาย เช่น

- เลือกวัสดุให้เหมาะสมกับงานที่ทำ ดูว่าวัสดุนั้นมีความแข็งพอที่จะนำมาสร้างได้หรือไม่

- รู้ค่าความแข็งเพื่อสร้างชิ้นงานที่ต้องการออกแบบให้พังก่อนอีกชิ้นหนึ่ง 

- รู้ถึงความทนทานของวัสดุที่นำมาทำ ซึ่งสามารถคำนวณอายุการใช้งานได้

การวัดความแข็ง
มีวิธีการมากมายที่นำมาใช้วัดความแข็งของโลหะ แต่ในหนังสือเล่มนี้จะกล่าวถึงวิธีการวัดความแข็งสองวิธีที่ได้รับความนิยม ได้แก่ วัดความแข็งโดยการกดเป็นรอย (Penetration hardness) และวัดความแข็งโดยการสร้างรอยขีดข่วน (Scratch hardness)

วัดความแข็งโดยการกดเป็นรอย 
เป็นเทคนิคการวัดที่มีความแม่นยำมากที่สุด ในการใช้เครื่องทดสอบเป็นตัววัด ตัวเครื่องกดนี้ใช้แรงในการกดชิ้นโลหะให้เกิดรอยบุ๋มลงไปในเนื้อโลหะ และทำการวัดขนาดรอยกด และแรงที่ใช้กด แล้วนำมาคำนวณเพื่อหาค่าความความแข็งของโลหะ 

วัดความแข็งโดยการสร้างรอยขีดข่วน 
เป็นการวัดแบบรวดเร็ว และหยาบ ชิ้นงานโลหะที่ใช้วิธีนี้หาค่าความแข็ง โดยใช้ของมีคมที่มีความแข็งกว่าชิ้นงานตัวอย่าง มาขีดบนชิ้นงานให้เกิดรอยขีดข่วน การวัดแบบนี้จะไม่มีค่าออกมาเป็นตัวเลข แต่จะใช้ความรู้ และประสบการณ์ เพื่อตัดสินว่าชิ้นงานนั้นเป็นชิ้นงานที่ “แข็ง” หรือ “อ่อน” ซึ่งขึ้นอยู่กับผลของรอยขีดข่วน

ซ่อมรถโฟล์คลิฟท์ เพชรบุรี NYK รุ่น 75 2.5 ตัน

โพสต์ by อะไหล่รถโฟล์คลิฟท์ไฟฟ้า น้ำมัน รับซ่อมรถโฟร์คลิฟท.

























forklift, รถยก, ซ่อม, รถโฟล์คลิฟท์, รับสกรีนเสื้อ, รถฟอร์คลิฟท์, รถโฟร์คลิฟท์, ซ่อมรถโฟลกลิฟท์, ซ่อมรถโฟลกลีฟ, รถโฟร์คลิฟ, รถ, แถว, ยางรถโฟล์คลิฟท์, ฟอร์คลิฟท์, folklift, ซ่อมแบตเตอรี่รถยก, แบตเตอรี่โฟร์คลิฟท์, โฟล์คลิฟท์, เครื่องยนต์, ฟอร์คลิฟท์, โฟคลิฟ, โฟกลีฟ, โฟกลิฟ, แฮนพาเลท, โฟคลิฟท, โฟล์คลิฟท, รถโฟล์คลิฟท์ ปทุมธานี, อยุธยา, สมุทรปราการ, สมุทรสาคร, รถโฟล์คลิฟท, รถโฟลคลิฟท์, ศูนย์บริการซ่อมรถยก, ศูนย์บริการซ่อมรถโฟร์คลิฟท์, ขายรถยก, จำหน่ายรถยก, ให้เช่ารถยก, ให้เช่ารถโฟร์คลิฟท์ , มือหนึ่ง, มือสอง , ศูนย์รวมอะไหล่รถยก, อะไหล่รถโฟร์คลิฟท์ , ศูนย์บริการ, ซ่อมรถยก, ซ่อมรถโฟร์คลิฟท์ , ซ่อมในสถานที่, ซ่อมนอกสถานที่ , รถยก, รถโฟร์คลิฟท์ , จัดจำหน่ายอะไหล่รถยก, จัดจำหน่ายรถแฮนด์ลิฟท์, แฮนด์พาเลท, ยางลม , ยางตัน, ยางตันขอบเหล็ก, ลูกปืน, ล้อยูริเทรน, ชุดโคมไฟ, ล้อแฮนด์ลิฟท์, ซีล, โอริง, งา , กะทะล้อ , , รถแฮนด์ลิฟท์ , ทุกชนิด , ศูนย์ซ่อม , เช่า, ฉะเชิงเทรา, ราชบุรี, นครสรรค์, นครนายก, สระบุรี, สิงห์บุรี, ลพบุรี, โฟล์คลิฟท์โคราช, โฟล์คลิฟท์นครราชสีมา, โฟคลิฟท์สุรินทร์, โฟล์คลิฟท์บุรีรัมย์, โฟล์คลิฟท์ขอนแก่น, โฟล์คลิฟท์อุบลราชธานี, โฟล์คลิฟท์อุดร, โฟล์คลิฟท์เลย, โฟล์คลิฟท์นครพนม, โฟล์คลิฟท์หนองคาย, โฟล์คลิฟท์ศรีสะเกษ, โฟล์คลิฟท์ยโสธร, โฟล์คลิฟท์มหาสารคาม, เชียงใหม่, ลำพูน, ลำปาง, แพร่, สุโขทัย, พิจิตร, ชัยนาท, อ่างทอง, ชุมพร, นครศรีธรรมราช, กระบี่, พังงา, พัทลุง, สงขลา, สุราษฎร์ธานี, ตรัง, นราธิวาส, สตูล, ปัตตานี, ซ่อมรถเครน, ซ่อมรถเฮี๊ยบ, x-lift, ไฮดรอลิก, ซ่อมรถกอล์ฟ, สะพานขึ้นตู้คอนเทนเนอร์ ซื้อ , toyota, REPAIR, FORKLIFT , PARTS FORKLIFT, ซ่อมโฟร์คลิฟท์, ซ่อมโฟล์คลิฟท์, ซ่อมโฟคลิฟ, ซ่อมโฟกลิฟ, toyota forklift, ขับรถโฟล์คลิฟท์<b> 

ไดชาร์จ รถโฟล์คลิฟท์ 12v 24v

จำหน่ายหม้อน้ำรถโฟล์คลิฟท์